สาร ๑, สาร– ๑ หมายถึง [สาน, สาระ–] น. แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็นแก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสารสื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. (ป., ส.).
[สาน, สาระ–] น. แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็นแก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสารสื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. (ป., ส.).
[สานกฺรมมะ–] ดู กรมธรรม์.
[สาระ–] น. เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ.
[สาน–] (กฎ; โบ) น. หนังสือราชการที่เชิญพระบรมราชโองการซึ่งประทับตราใหญ่; หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา.
[สาระ–] น. ธรรมเป็นหลักฐาน, ธรรมที่มั่นคง.
[สาระนิเทด] น. การชี้แจงแนะนําเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. (ส. สาร + นิรฺเทศ; ป. สาร + นิทฺเทส).
[สาระ–] น. คําบอกเรื่อง, บัญชีเรื่อง, เช่น เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ในสารบบ.